พระสมเด็จ ครับ

ในห้อง 'วิธีดูพระเครื่อง-เครื่องรางของขลัง' ตั้งกระทู้โดย pitijit, 5 กุมภาพันธ์ 2009.

  1. nanodent

    nanodent เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,730
    ค่าพลัง:
    +943
    สมเด็จองค์ที่ลง ยางรัก ครับ จากการวิเคราะห์สันนิฐานว่า พระสมเด็จของพระพุฒาจารย์ โต นั้นใช้รักจีนครับ เนื่องจากในสมัยนั้นมีการติดต่อการค้ากับจีนเป็นอย่างมาก และคุณสมบัติของรักจีน นั้นจะแตกต่างจากรักไทย คือรักจีนจะมีสีน้ำตาลอมแดง ส่วนรักไทยจะดำสนิท ....ตัวอย่างอีกองค์ครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  2. nanodent

    nanodent เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,730
    ค่าพลัง:
    +943
    สมเด็จองค์ที่ลง ยางรัก ครับ จากการวิเคราะห์สันนิฐานว่า พระสมเด็จของพระพุฒาจารย์ โต นั้นใช้รักจีนครับ เนื่องจากในสมัยนั้นมีการติดต่อการค้ากับจีนเป็นอย่างมาก และคุณสมบัติของรักจีน นั้นจะแตกต่างจากรักไทย คือรักจีนจะมีสีน้ำตาลอมแดง ส่วนรักไทยจะดำสนิทถ้าให้ผมสันนิฐานคิดว่า ไม่แท้นะครับ ผิดพลาดประการใดอภัยให้กันนะครับ ....ตัวอย่างอีกองค์ครับคุณweerapongki
     
  3. weerapongki

    weerapongki Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มกราคม 2009
    โพสต์:
    254
    ค่าพลัง:
    +73
    จะเล่าอะไรให้ฟันนิดหนึ่งนะครับแล้วลองไปค้นคว้าดูนะ เป็นที่น่าแปลกใจที่ "พระแท้" เ่ท่าที่พบโดยเฉพาะพระเครื่อง พระปิดตา และเครื่องรางประเภทตระกรุด ลูกอม ของเกจิอาจารย์ผู้โด่งดังสามารถวิสัชนากันได้โดยยึดหลักการดู รัก เป็นส่วนใหญ่ จากความพยายามค้นและคว้านะครับ พบว่า พระคณาจารย์ตั่งแต่ปลายสมัยกรุงศรีอยุทธยาจนถึงปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ส่วนใหญ่ที่สร้างพระเครื่องและเครื่องรางของขลังพากันใช้ รักจีน เป็นหลัก เมื่อดูจากบริบททางประวัติศาสตร์ก็จะพบว่า ในระยะนั้น ไทย เวียดนาม ลาม กัมพูชา มิได้เพาะปลูกต้นรักเป็นอุตสาหกรรมส่งออก จุดที่น่าสังเกตุคือ บรรดาคณาจารย์ของบรมวงศานุวงศ์หรือชนชั้นสูงในระยะนั้นแทบทั้งสิ้น เช่น เจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี หลวงปู่เอี่ยม วัดหนัง หลวงปู่ศุข วัดปากครองมะขามเฒ่า เป็นต้น นิยมใช้รักจีน ดังนั้นการจำแนกจึงสำคัญครับ รักจีนมีสีน้ำตาลอมแดง ส่วนรักไทยดไสนิท วีธีการ ให้ใช้กล่องส่องดูส่วนที่เจือจางที่สุดของน้ำรักบนองค์พระจะเห็นความแตกต่างได้ชัดเจนครับ ส่วนรายละเอียดอื่นๆต้องให้เวลาเป็นเครื่องพิสูจน์นะครับ
     
  4. nanodent

    nanodent เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,730
    ค่าพลัง:
    +943
    ที่จริงก็ศึกษาพระสมเด็จจากหนังสือหลายเล่ม...แม้แต่หนังสือรายเดือน...ผมก็เคยเห็นพระสมเด็จที่ลงรักปิดทองมีทั้งรักดำและรักแดงเป็นส่วนมาก...แต่ในตำราบางเล่มได้กล่าวถึงการเคลือบผิวพระสมเด็จไว้ว่า...ถ้าชุบน้ำว่านผิวของสีพระจะออกสีน้ำตาลอมแดง...ชุบยางมะตูมเนื้อพระจะออกเป็นสีขาวอมเหลือง...ชุบแป้งมันเปียกเนื้อพระจะออกเป็นสีคราบขาว...ถ้าเคลือบรักจีน พระจะมีสีดำอมม่วง..ถ้าเคลือบรักไทยพระจะมีสีดำ...ถ้าเคลือบรักน้ำเกลี้ยงพระจะมีสีน้ำตาล...ถ้าเคลือบเทือกพระจะมีสีน้ำตาล...ถ้าเคลือบชาดพระจะมีสีแดง..ถ้าเคลือบรงค์พระจะมีสีน้ำตาลอมเหลือง ..ถ้าเคลืบน้ำทองพระจะมีสีทองเป็นต้น...เคยเห็นพี่โชติกล่าวถึงการลงรัก..สงสัยต้องรอพี่เขามาร่วมแจม...ถือว่ามาศึกษาละกันนะครับคุณweerapongki...ของคุณอาจจะถูกก็ได้
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  5. nanodent

    nanodent เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,730
    ค่าพลัง:
    +943
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ nanodent [​IMG]
    พระสมเด็จครับ เชิญท่านผู้รู้ ผู้ชำนาญการ วิจารณ์ วิเคราะห์ ฟันธง ชอบ/ไม่ชอบ ได้เลยครับ ไม่ว่ากันครับส่วนพระของท่าน MONODENT ลองให้ท่านที่มีความรู้ มาวิเคราะห์ดูน่ะครับ ส่วนตัวผมนำบอกเลย ยังอ่อนหัดคราบ...
    <!-- / message --><!-- attachments -->ขนาดผมยังไม่ได้วิจารณพระท่านเลยนะครับ...แถมให้สังเกตุอีกจุดคือเส้นหัวฐานสิงห์ชั้นกลางเป็นเส้นหัวฐานคมชัดเจนทั้งสองด้าน...ลักษณะของเนื้อพระใต้ฐานสิงห์ต้องเอียงลาด(ดูรูปหนังสือประกอบ)...
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ใจเย็นๆๆครับพี่ มีพระสวยๆๆ แล้วก็ต้องใจดีด้วยสิคราบ... ครับรับทราบครับขออภัยครับ
    <!-- / message -->
     
  6. weerapongki

    weerapongki Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มกราคม 2009
    โพสต์:
    254
    ค่าพลัง:
    +73
    ยินดีครับ ถือว่าเรามีข้อมูลมาแลกกันนะครับ ชี้แนะด้วยนะครับ
     
  7. infinityboon

    infinityboon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กันยายน 2006
    โพสต์:
    324
    ค่าพลัง:
    +188
    ขอโทษครับรูปอาจจะใหญ่ เคยเอามาลงแต่มีคนตอบน้อย อยากได้ความรู้มากกว่านี้ เช่นพิมพ์อะไร แท้ไม่แท้
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  8. nanodent

    nanodent เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,730
    ค่าพลัง:
    +943
    คุณเพชรสันทรน่าจะรีไซด์รูปลงมา600*800pixels...น่าจะดูสบายตาดีนะครับ...แต่ยังไงขอฝากให้พิจารณา...ผมนำมาจากหนังสือคร่าวๆดังนี้(วัดระฆังพิมพ์ใหญ่)
    1.พิมพ์ทรง
    2.เนื้อมวลสาร ลักษณะรูปทรงสีสันของมวลสาร ส่วนผสมก้อนขาว ก้านดำ เม็ดแดง
    3.อายุความเก่า ซึ่งจะสังเกตุเห็นเป็นรอยยุบ รอยย่นในเนื้อพระ
    ...อ้างอิงจากข้อที่1.เส้นบังคับพิมพ์มาตราฐานด้านซ้ายองค์พระเริ่มจากมุมบนด้านซ้ายวิ่งลงมาประสานเป็นเนื้อเดียวกับเส้นซุ้มในจุดระดับกลางองค์ใกล้จุดหักศอกของพระพาหา...
    เส้นบังคับพิมพ์จากมุมบนด้านขวาองค์พระจะดิ่งลงมาถึงซุ้มด้านล่าง...ฐานสิงห์ชั้นกลางปรากฏเป็นเส้นหัวฐานคมชัดเจนทั้งสองด้าน...พื้นนอกซุ้มด้านบนขวาองค์พระมีระดับเหลื่อมสูงกว่าเนื้อพระด้านในซุ้มบริเวณเหนือหัวไหล่องค์พระด้านขวาเล็กน้อย...จุดสิ้นสุดปลายพระบาทขวาขององค์พระจบอยู่แนวเดียวกับเส้นพระกรขวาขององค์พระด้านนอก(ลองนึกลากเส้นตั้งฉากขึ้นไป)...เนื้อพระใต้ฐานสิงห์มีลักษณะลาดเอียงไม่ใช่ยุบตัวลง(ลองดูภาพประกอบ)...ขอให้โชคดีนะครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 กุมภาพันธ์ 2009
  9. pitijit

    pitijit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2008
    โพสต์:
    689
    ค่าพลัง:
    +428
    ผมนึกตั้งนาน คิดแล้วคิดอีก ว่าทำไมท่าน MONODENT ถึงบอกผมว่า "ขนาดผมยังไม่ได้วิจารณพระท่านเลยนะครับ..." ที่แท้ก็คำนี้เองที่ผมเขียนว่า " ส่วนพระของท่าน MONODENT ลองให้ท่านที่มีความรู้ มาวิเคราะห์ดูน่ะครับ ส่วนตัวผมนำบอกเลย ยังอ่อนหัดคราบ..." ลองอ่านใหม่น่ะครับ ผมพิมพ์ผิด รีบเกินไป ต้องเป็น "ส่วนตัวผมนั้นบอกเลย ผมยังอ่อนหัดคราบ..." (อาจจะสื่อความหมายผิดเพี้ยนไป) ขอโทษท่านตัวน่ะครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 6 กุมภาพันธ์ 2009
  10. nanodent

    nanodent เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,730
    ค่าพลัง:
    +943
    for get it เถอะครับ...มาต่อข้อมูลที่ไปค้นมาอีกครับดีกว่าครับ...เส้นครอบแก้วหรือเส้นซุ้มผ่าหวายด้านขวาบนจะนูนสูงชัดเจนกว่าซุ้มด้านซ้ายบนขององค์พระ(กรณีที่ไม่ใช้จนสึก)...และจุดชี้เป็นชี้ตายของพระสมเด็จแท้ต้องพลิกด้านหลังดูครับ...ลักษณะขอบพระทั้ง4ด้านจะสังเกตุเห็นถึงระดับความสูงที่มีมากกว่าพื้นเนื้อพระกลางองค์...รอยปริของเนื้อพระที่เรียกว่ารอยปูไต่มักปรากฏบริเวณริมขอบองค์พระด้านหลังไม่ด้านใดก็ด้านหนึ่ง(จะต้องมีทุกองค์)...รอยพรุนคล้ายปลายเข็มจิกเกิดจากการหลุดล่วงของมวลสาร(มีทั้งด้านหน้าและด้านหลัง)...ร่องรอยการหลุดของเนื้อพระที่เกิดจากการตัดขอบ...รอยยุบเหี่ยวย่นซึ่งเกิดขึ้นตามอายุความเก่า...เนื้อพระมีหลากหลายวรรณะทั้งขาว...ขาวอมเหลือง...ขาวอมน้ำตาลเป็นต้น...พระที่แก่น้ำมันตังอิ๊วจะดูหม่นๆ...ส่วนพระที่มีส่วนผสมพอดีเนื้อจะแห้งแกร่ง
     
  11. pitijit

    pitijit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2008
    โพสต์:
    689
    ค่าพลัง:
    +428
    ข้อมูลดีมากเลยครับ สงสัย แฟนพันธ์แท้มาเองครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 7 กุมภาพันธ์ 2009
  12. infinityboon

    infinityboon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กันยายน 2006
    โพสต์:
    324
    ค่าพลัง:
    +188
    ขอบคุณสำหรับข้อมูลดีๆครับ และขอโทษอีกครั้งเรื่องรูป พระองค์นี้เลี่ยมทองไปเรียบร้อยแล้วครับ ตอนเลี่ยมคนเลี่ยมบอกว่าองค์นี้เหมือนงาช้าง ถ้าเกิดองค์นี้ดังคงเรียก องค์งาช้าง ส่วนด้านหลังเรียบไม่มีรอยปริแตก แต่มีรอยยุบตัว เป็นหลุมขนาดใหญ่และเห็นเป็นมวลสารด้านใน ผมมีอีกหลายองค์ แต่ไม่เก่งเรื่องหาข้อมูลพระ เพราะมีมากจำไม่หมด อาศัยนั่งดูก็มึนแล้วจนน้ำตาไหล อีกอย่างกล้องส่องพระก็ราคาไม่กี่บาท หาซื้อดีๆไม่ได้เลย ที่จังหวัดผมเขาขายตามแผงพระทั่วไป ไม่รู้ว่าเหมือนกับที่เซียนทั้งหลายใช้ได้เปล่า ขอคุณครับ
     
  13. jukjuk

    jukjuk เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กันยายน 2008
    โพสต์:
    2,196
    ค่าพลัง:
    +2,229
    รักไม่สน สนแต่เนื้อและพิมพิ์ครับผม
     
  14. nanodent

    nanodent เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,730
    ค่าพลัง:
    +943
    นำเอาภาพมาให้ดูธรรมชาติด้านหลังของพระสมเด็จ...สังเกตุดูทุกองค์จะมีร่องรอยดังที่กล่าวข้างบน...(ยิ่งพระที่ไม่ได้ลงรักและน้ำหมากยิ่งสังเกตุเห็นได้ชัดลองหาภาพในเว็บเปรียบเทียบดูครับ)...หมายเหตุลืมขอบคุณข้อมูลจากหนังสือ precious ครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 123.jpg
      123.jpg
      ขนาดไฟล์:
      121.1 KB
      เปิดดู:
      202
    • 234.jpg
      234.jpg
      ขนาดไฟล์:
      146 KB
      เปิดดู:
      182
    • 456.jpg
      456.jpg
      ขนาดไฟล์:
      155.5 KB
      เปิดดู:
      461
    • 567.jpg
      567.jpg
      ขนาดไฟล์:
      77.7 KB
      เปิดดู:
      279
    • 678.jpg
      678.jpg
      ขนาดไฟล์:
      121 KB
      เปิดดู:
      205
  15. pitijit

    pitijit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2008
    โพสต์:
    689
    ค่าพลัง:
    +428
    ท่านอื่นๆๆที่ชำนาญการ มีความรู้ วิเคราะห์ วิจารณ์ ฟันธง ได้เลยน่ะครับ ชอบ ไม่ชอบไม่ว่ากัน เปิดกายเปิดใจเลย ครับ
     
  16. pitijit

    pitijit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2008
    โพสต์:
    689
    ค่าพลัง:
    +428
    อนุสรณ์ ๑๑๘ ครับ

    องค์นี้ แท้แบบสบาย...ใจครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 7 กุมภาพันธ์ 2009
  17. yochiki_vr

    yochiki_vr เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กันยายน 2008
    โพสต์:
    246
    ค่าพลัง:
    +154
    555+เก่งๆๆๆทุกท่านล่ะคร๊าบ คิดซะว่าแลกความคิดเห็นกันคร๊าบ
     
  18. pitijit

    pitijit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2008
    โพสต์:
    689
    ค่าพลัง:
    +428
    ของแท้ครับ

    มาดูของแท้ๆๆครับ แท้ๆๆจริงๆๆ ( ทองแท้ น่ะครับ ส่วนพระก็ดูเอาครับ องค์นี้คือ องค์ที่ 4 ของ "หน้าแรก" ครับ ส่วนองค์ที่ 1 กำลังหาเงินเลี่ยมทองอยู่ครับ รอขายที่พ่อตาก่อน คราบ....5555+ )
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • Untitled-3.jpg
      Untitled-3.jpg
      ขนาดไฟล์:
      157 KB
      เปิดดู:
      156
    • s.jpg
      s.jpg
      ขนาดไฟล์:
      160.1 KB
      เปิดดู:
      156
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 7 กุมภาพันธ์ 2009
  19. nanodent

    nanodent เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,730
    ค่าพลัง:
    +943
    [​IMG]

    <!-- start menu--><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=780 border=0><TBODY><TR><TD width=300>
    [​IMG]
    </TD><TD width=519></TD></TR><TR><TD>
    ปีที่ 60 ฉบับที่ 18646 วันอาทิตย์ ที่ 8 กุมภาพันธ์ 2552​
    </TD><TD></TD></TR><TR bgColor=#3c751f><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR bgColor=#ffff00><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR bgColor=#205306><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=780 border=0><TBODY><TR><TD style="BORDER-RIGHT: #a4d18d 1px solid" width=133 bgColor=#205306>
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: #a4d18d 1px solid; BORDER-LEFT: #2a680b 1px solid" width=101 background=images/bg.gif bgColor=#205306>
    ข่าวประจำวัน​
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: #a4d18d 1px solid; BORDER-LEFT: #2a680b 1px solid" width=118 background=images/bg.gif bgColor=#205306></TD><TD style="BORDER-RIGHT: #a4d18d 1px solid; BORDER-LEFT: #2a680b 1px solid" width=77 background=images/bg.gif bgColor=#205306></TD><TD style="BORDER-RIGHT: #a4d18d 1px solid; BORDER-LEFT: #2a680b 1px solid" width=120 background=images/bg.gif bgColor=#205306></TD><TD style="BORDER-RIGHT: #a4d18d 1px solid; BORDER-LEFT: #2a680b 1px solid" width=130 background=images/bg.gif bgColor=#205306></TD><TD style="BORDER-LEFT: #2a680b 1px solid" width=101 bgColor=#205306></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR bgColor=#205306><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR><TR bgColor=#ae1414><TD class=text3 colSpan=2></TD></TR><TR bgColor=#6e0808><TD colSpan=2>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><!--End Menu--><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=780 background=images/line_header.jpg border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD align=right><FORM id=bmform name=bmform action=bookmarknews.php target=_new></FORM>[​IMG][​IMG] <!--a href="javascript:void(0);" onclick="bmform.submit();" class="link7">็บขวน[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=780 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE height=34 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-LEFT: 10px">วัดระฆังพิมพ์ใหญ่ [18 มี.ค. 50 - 13:22]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=text cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle><TABLE class=text cellSpacing=0 cellPadding=10 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>
    [​IMG]ว่ากันถึงพระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์ใหญ่พิมพ์ เดียวเท่านั้น ก็ต้องมีความรู้พื้นฐานต่อไปอีกว่า แม้จะเป็นพิมพ์ใหญ่ แต่ก็มีหลายบล็อก ในหลายบล็อกยังแยกเป็นสี่บล็อกที่เล่นกันเป็นมาตรฐาน
    ความลับของพิมพ์ใหญ่สี่บล็อกมาตรฐานเดิมก็บอกกันในวงเล่นชั้นสูง จนกระทั่งอาจารย์รังสรรค์ ต่อสุวรรณ นำมาแจงสี่เบี้ยในนิตยสารพรีเชียส...ความลับ ข้อนี้ก็เริ่มแพร่หลาย
    น่าแปลกใจ...แม้จะแยกชัดเจนเป็นสี่พิมพ์ แต่ทุกพิมพ์ช่างก็ตั้งใจทำให้รู้ว่าฝีมือเดียวกัน เพราะหลายจุด ทำเป็นแบบเดียวกัน
    เช่น...เส้นขอบแม่พิมพ์ (กรอบกระจก) ด้านซ้ายองค์พระ สิ้นสุดเอาแค่ไหล่ หรือถ้าเส้นซุ้มบาง ก็ไม่เกินกลางวงแขน
    องค์พระนับแต่เส้นพระเกศลงมาถึงเข่า บิดเบนไปด้านขวาองค์พระ เข่าซ้ายองค์พระสูงกว่าเข่าด้านขวา ขณะที่ฐานตั้งแต่ชั้นแรกถึงชั้นที่สามบิดเบนไปตรงข้ามคือด้านซ้าย
    แยกแต่ละจุด พรีเชียสชี้ไว้ถึง 11 แห่ง
    ความรู้เรื่องแม่พิมพ์จึงเป็นเพียงส่วนหนึ่งที่สำคัญ ไม่น้อยกว่า เนื้อพระและธรรมชาติที่ปรากฏในผิวพื้นพระ ไม่ว่าด้านหน้า ขอบสี่ข้าง และสำคัญที่สุดคือด้านหลัง
    ผู้ที่สนใจศึกษาสมัยนี้มีหนังสือภาพพระสมเด็จวัดระฆังของแท้ให้เปรียบเทียบดูมากมาย ข้อเตือนใจก็คือต้องเลือกหนังสือเป็น วันนี้มีหนังสือภาพพระปลอมออกขายจำนวนไม่น้อย
    ข้อยุติของพิมพ์ใหญ่...จึงไม่น่าจะมีอยู่แค่สี่พิมพ์ มาตรฐาน...เท่านั้น
    ยังมีพิมพ์ใหญ่อีกสองถึงสามบล็อกชลูด บล็อกป้อม และบล็อกผอม
    เฉพาะบล็อกผอม เส้นสายองค์พระเรียวบาง...มองผาดๆ อาจคิดว่าเป็นพิมพ์เส้นด้าย กรุบางขุนพรหม มองพิศจึงเห็นว่าพระพักตร์กลมกว่าพระเพลา หนากว่า และเส้นฐานชั้นสุดท้ายไม่มีเส้นโปร่งบางเป็นขอบ แต่ทึบตัน เหมือนพิมพ์ใหญ่
    พิมพ์ใหญ่บล็อกนี้ ในวงการจึงมักมีปัญหา...จะใช้หลักเส้นขอบแม่พิมพ์ซ้าย สิ้นสุดตรงไหล่หรือกลางแขนพระก็ไม่ได้ เนื่องจากพิมพ์นี้เส้นซุ้มเรียวบางไม่หนาเหมือนพิมพ์ใหญ่มาตรฐาน เส้นขอบแม่พิมพ์ จึงเลยไปสิ้นสุดเอาเกือบฐานชั้นสุดท้าย
    ตำแหน่งเส้นขอบแม่พิมพ์นี้ จึงตรงกับพิมพ์ ใหญ่พิมพ์ตื้นของกรุบางขุนพรหม...
    ปัญหาการแยกวัดระฆัง วัดบางขุนพรหม ข้อแรก วัดระฆังไม่เข้ากรุ ผิวบางนุ่มนวล วัดบางขุนพรหมเข้ากรุ สภาพพระโดยทั่วไป ถ้าไม่ขูดขัดก็มีขี้กรุเกรอะกรัง
    แต่กรุบางขุนพรหม กรุเก่า อยู่ในกรุน้อย หรือบางขุนพรหมที่ผิวสะอาดเกลี้ยงเกลาเหมือนวัดระฆังก็มีให้เห็นเหมือนกัน
    เมื่อมาเจอพิมพ์ใหญ่เส้นสายเรียวคม แต่ผิว บางนุ่มนวลเหมือนผิวพระวัดระฆัง...จะฟันธงว่า พิมพ์บางขุนพรหม ก็ต้องเป็นพิมพ์ใหญ่บางขุน-พรหมดูจะง่ายเกินไป
    ในกรณีพระองค์ในภาพนี้...มีรักทองติดอยู่ ประปราย ฝ้าละอองรักสีน้ำตาลชั้นที่แนบกับผิวพระ...ก็สะอาดและเกลี้ยงเกลา ถ้าพลิกดูหลังมีรอยปริแยกที่ริมขอบเป็นหลักฐานยืนยันความดูง่าย...
    ก็ต้องฟันธงกันได้เลย นี่แหละพิมพ์ใหญ่วัดระฆัง
    และเมื่อแน่ใจว่าเป็นวัดระฆัง ก็ต้องกล้าเติมความรู้ว่า วัดระฆังพิมพ์ใหญ่พิมพ์นี้...ก็มี
    เจ้าของพระ คุณประจำ อู่อรุณ ให้ความรู้ว่า สภาพพระแบบนี้ ตอนเซียนซื้อ ซื้อราคาบางขุนพรหม แต่ตอนเซียนขาย ขายในราคาวัดระฆัง
    ความจริง ที่ตั้งวัดระฆังอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ที่ตั้งวัดใหม่อมตรส ที่พบกรุบางขุนพรหมอยู่ริมคลองบางขุนพรหม แต่วงการก็เรียกขานพระสภาพนี้ว่า พระสองคลอง จำเอาไว้ให้ได้ พระพิมพ์นี้มี แต่มีคนรู้จริงรู้จักไม่มาก โอกาสหลุดรอดมาเข้ามือในราคาถูกๆ จึงมีมากกว่า พิมพ์มาตรฐานพิมพ์อื่น.
    "บาราย"​

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=7 width=780 border=0><TBODY><TR></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT language=JavaScript type=text/JavaScript>function isBlank_Mail(myObj) { if(myObj.value=='') { return true; } return false; }function verifySubmit_Mail() { var mesg='กรุณากรอกข้อมูลให้ครบ และ ถูกต้องด้วยนะค่ะ.' var mesg_eamil='รูปแบบ E-mail ไม่ถูกต้องค่ะ.' with(document.myForm) { if(isBlank_Mail(fromemail)) { alert(mesg);fromemail.focus(); return false; } if(isBlank_Mail(toemail)) { alert(mesg);toemail.focus(); return false; } if (!isEmail(fromemail.value)) { alert(mesg_eamil);fromemail.focus(); return false; } if (!isEmail(toemail.value)) { alert(mesg_eamil);toemail.focus(); return false; } } //fnSave(); return true; //document.myForm.submit();}function isEmail(str) { var supported = 0; if (window.RegExp) { var tempStr = "a"; var tempReg = new RegExp(tempStr); if (tempReg.test(tempStr)) supported = 1; } if (!supported) return (str.indexOf(".") > 2) && (str.indexOf("@") > 0); var r1 = new RegExp("(@.*@)|(\\.\\.)|(@\\.)|(^\\.)"); var r2 = new RegExp("^.+\\@(\\[?)[a-zA-Z0-9\\-\\.]+\\.([a-zA-Z]{2,3}|[0-9]{1,3})(\\]?)$"); return (!r1.test(str) && r2.test(str));}</SCRIPT><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=780 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="70%" align=center border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width=26>[​IMG]</TD><TD background=images/broder005.jpg>[​IMG]</TD><TD width=23>[​IMG]</TD></TR><TR><TD background=images/broder007.jpg> </TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><FORM id=myForm name=myForm onsubmit="return verifySubmit_Mail();" action=sendmail.php method=post><INPUT type=hidden size=100 value=http://www.thairath.co.th/news.php?section=specialsunday03&content=40424 name=url> <TBODY><TR><TD align=middle colSpan=4>[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=4>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=right width="15%">อีเมล์ผู้ส่ง
    </TD><TD width="40%"><INPUT id=fromemail size=23 name=fromemail></TD><TD align=right width="15%">อีเมล์เพื่อน
    </TD><TD width="40%"><INPUT size=23 name=toemail></TD></TR><TR><TD align=middle colSpan=4><INPUT type=submit value=" ส่งหน้านี้ให้เพื่อน " name=button></TD></TR></FORM></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD background=images/broder008.jpg> </TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD background=images/broder006.jpg>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

    <SCRIPT language=JavaScript type=text/JavaScript>function isBlank_Mail(myObj) { if(myObj.value=='') { return true; } return false; }function verifySubmit_Mail_Comment() { var mesg='กรุณากรอกข้อมูลให้ครบ และ ถูกต้องด้วยนะค่ะ.' var mesg_eamil='รูปแบบ E-mail ไม่ถูกต้องค่ะ.' with(document.form1) { if(isBlank_Mail(inp_name)) { alert(mesg);inp_name.focus(); return false; } if(isBlank_Mail(inp_email)) { alert(mesg);inp_email.focus(); return false; } if (!isEmail(inp_email.value)) { alert(mesg_eamil);inp_email.focus(); return false; } if(isBlank_Mail(inp_detail)) { alert(mesg);inp_detail.focus(); return false; } //if (!isEmail(toemail.value)) { alert(mesg_eamil);toemail.focus(); return false; } } //fnSave(); return true; //document.myForm.submit();}function isEmail(str) { var supported = 0; if (window.RegExp) { var tempStr = "a"; var tempReg = new RegExp(tempStr); if (tempReg.test(tempStr)) supported = 1; } if (!supported) return (str.indexOf(".") > 2) && (str.indexOf("@") > 0); var r1 = new RegExp("(@.*@)|(\\.\\.)|(@\\.)|(^\\.)"); var r2 = new RegExp("^.+\\@(\\[?)[a-zA-Z0-9\\-\\.]+\\.([a-zA-Z]{2,3}|[0-9]{1,3})(\\]?)$"); return (!r1.test(str) && r2.test(str));}</SCRIPT><TABLE id=Table_01 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=780 border=0><TBODY><TR><TD align=middle>
    [​IMG]
    <TABLE id=Table_01 height=179 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=540 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD width=540 background=images/framefeed_02.gif height=153><FORM name=form1 onsubmit="return verifySubmit_Mail_Comment();" action=sendmail_comment.php method=post><INPUT type=hidden size=100 value=http://www.thairath.co.th/news.php?section=specialsunday03&content=40424 name=url> <INPUT type=hidden size=100 value="ความคิดเห็นเกี่ยวกับข่าว วัดระฆังพิมพ์ใหญ่" name=subject> <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=1 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="34%">
    [​IMG]
    </TD><TD width="66%"><INPUT id=inp_name name=inp_name> </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD><TD><INPUT id=inp_email name=inp_email></TD></TR><TR><TD height=117>
    [​IMG]
    </TD><TD><TEXTAREA id=inp_detail name=inp_detail rows=6 cols=50></TEXTAREA> </TD></TR><TR><TD> </TD><TD><INPUT type=submit value=ส่งความคิดเห็น name=Submit> </TD></TR></TBODY></TABLE></FORM></TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><!--table width="780" border="0" cellpadding="2" cellspacing="0" bgcolor="#339900"> <tr> <td width="776">
    Copyright &copy; 2009 by Vacharaphol Co.,Ltd. 1 Viphavadirangsit Rd. Bangkok 10900 Thailand Tel. (662) 272-1030 Fax. (662) 272-1324 <script language="javascript1.1">__th_page="/news.php";</script> <script language="javascript1.1" src="http://hits3.truehits.net/data/q0027710.js"> </script>​
    </td> </tr></table--><TABLE id=Table_01 height=79 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=780 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD vAlign=top bgColor=#339900 rowSpan=3>[​IMG]</TD></TR><TR><TD width=568 bgColor=#339900 colSpan=2 height=59>
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma]คำสืบค้น : เกมส์ | ฟังเพลง | งานราชการ[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma]Copyright © Vacharaphol Co.,Ltd. 1 Viphavadirangsit Rd. Bangkok 10900 Thailand [/FONT]
    ติดต่อทีมงานเว็บไซต์หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ [FONT=MS Sans Serif, Tahoma]e-mail: webmaster@thairath.co.th[/FONT] <!-- <script language="javascript1.1">__th_page="/news.php";</script> <script language="javascript1.1" src="http://hits3.truehits.net/data/q0027710.js"> </script> --><SCRIPT language=javascript1.1>__th_page="/news.php/specialsunday03";</SCRIPT><SCRIPT language=javascript1.1 src="http://hits3.truehits.net/data/q0027710.js"> </SCRIPT><SCRIPT src="http://lvs.truehits.in.th/func/th_donate_1.8.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://lvs.truehits.in.th/func/th_common_1.4.js"></SCRIPT>[​IMG]
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="98%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD style="PADDING-TOP: 7px">[FONT=MS Sans Serif, Tahoma]Advertising Contact <!--Kapook.com -->Tel. (662) 636-0726 Email : thairath@admaxnetwork.com <!--Tel.(662) 911-0915-7 Fax. (662) 911-1117--><!--(662) 272-1030 Fax. (662) 272-1324-->[/FONT]</TD><TD align=right>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma] Developed by Kapook.com [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <!-- ADDFREESTATS.COM AUTOCODE V4.0 --><SCRIPT type=text/javascript><!--var AFS_Account="00714622";var AFS_Tracker="auto";var AFS_Server="www7";var AFS_Page="DetectName";var AFS_Url="DetectUrl";// --></SCRIPT><SCRIPT src="http://www7.addfreestats.com/cgi-bin/afstrack.cgi?usr=00714622" type=text/javascript></SCRIPT>[​IMG] <NOSCRIPT>[​IMG]</NOSCRIPT><!-- ENDADDFREESTATS.COM AUTOCODE V4.0 -->
    <!-- Start of StatCounter Code --><SCRIPT language=javascript type=text/javascript>var sc_project=1570083; var sc_invisible=0; var sc_partition=14; var sc_security="a2271f96"; </SCRIPT><SCRIPT language=javascript src="http://www.statcounter.com/counter/counter.js" type=text/javascript></SCRIPT>[​IMG]

    เผอิญไปเจอข้อมูลเก่ามาอ่าน...อาจมีประโยชน์แก่เพื่อนๆบ้างจึงนำมาลงให้อ่านกันครับ
     
  20. nanodent

    nanodent เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,730
    ค่าพลัง:
    +943
    แก้ไขครับข้อมูลไม่มาให้ลิงค์ไปตามนี้เลยนะครับ http://www.thairath.co.th/news.php?section=specialsunday03&content=40424 หวังว่าคงไม่ขัดข้องทางเท็คนอคอีกน่ะ
     

แชร์หน้านี้

Loading...